ความเป็นมาของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์

และแนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย

 

โดย ดร.ธนิต โสรัตน์

รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

8 ตุลาคม 2553

1.             ความเป็นมาของยุทธศาสตร์พัฒนาโลจิสติกส์

การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งต้นทุน ณ เวลานั้นอยู่ที่ร้อยละ 20 ของ GDP แต่การเริ่มต้นจริงจังเพิ่งมีในช่วงปลายปี 2546 ในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้กำหนดให้การพัฒนาโลจิสติกส์เป็นวาระแห่งชาติ การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยจึงได้เริ่มเป็นจริงจังมาตั้งแต่นั้น และเป็นรูปธรรมในปลายปี 2547 เมื่อ คณะรัฐมนตรีได้มีมติครั้งแรกเกี่ยวกับพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2547  ให้ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องจัดทำ Logistics Roadmap เพื่อส่งให้คณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือ  สศช.ประมวลจัดทำเป็นแผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์  โดยในร่างแผนแม่บทการพัฒนาของประเทศไทย (พ.ศ.2548)  ภายใต้แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.. 2548-2551 ประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์ จำนวน 6 ยุทธศาสตร์  ได้แก่

1.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

2.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลและฐานข้อมูลเกี่ยวกับโลจิสติกส์

3.      ยุทธศาสตร์การสร้างขีดความสามารถในการบริหารจัดการ

4.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์

5.      ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงทางการค้ากับภูมิภาค

6.      ยุทธศาสตร์การปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับนโยบาย

และกระบวนการให้บริการของหน่วยงานรัฐ


อ่านเพิ่มเติมคลิกLinkด้านล่าง

**** บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบการบรรยาย

                  ยุทธศาสตร์ระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย

หลักสูตรการปฐมนิเทศนายทหารชั้นนายพลของกองทัพไทย รุ่นที่ 29

                ณ ห้องบรรยายรวม ที่ 12 ตุลาคม 2553

" />
       
 

ความเป็นมาของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ และแนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย Share


ความเป็นมาของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์

และแนวทางการพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย

 

โดย ดร.ธนิต โสรัตน์

รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

8 ตุลาคม 2553

1.             ความเป็นมาของยุทธศาสตร์พัฒนาโลจิสติกส์

การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2543 ซึ่งต้นทุน ณ เวลานั้นอยู่ที่ร้อยละ 20 ของ GDP แต่การเริ่มต้นจริงจังเพิ่งมีในช่วงปลายปี 2546 ในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ได้กำหนดให้การพัฒนาโลจิสติกส์เป็นวาระแห่งชาติ การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยจึงได้เริ่มเป็นจริงจังมาตั้งแต่นั้น และเป็นรูปธรรมในปลายปี 2547 เมื่อ คณะรัฐมนตรีได้มีมติครั้งแรกเกี่ยวกับพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2547  ให้ทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้องจัดทำ Logistics Roadmap เพื่อส่งให้คณะกรรมพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติหรือ  สศช.ประมวลจัดทำเป็นแผนแม่บทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์  โดยในร่างแผนแม่บทการพัฒนาของประเทศไทย (พ.ศ.2548)  ภายใต้แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.. 2548-2551 ประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์ จำนวน 6 ยุทธศาสตร์  ได้แก่

1.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

2.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลและฐานข้อมูลเกี่ยวกับโลจิสติกส์

3.      ยุทธศาสตร์การสร้างขีดความสามารถในการบริหารจัดการ

4.      ยุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์

5.      ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงทางการค้ากับภูมิภาค

6.      ยุทธศาสตร์การปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับนโยบาย

และกระบวนการให้บริการของหน่วยงานรัฐ


อ่านเพิ่มเติมคลิกLinkด้านล่าง

**** บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบการบรรยาย

                  ยุทธศาสตร์ระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย

หลักสูตรการปฐมนิเทศนายทหารชั้นนายพลของกองทัพไทย รุ่นที่ 29

                ณ ห้องบรรยายรวม ที่ 12 ตุลาคม 2553


ไฟล์ประกอบ : ความเป็นมาของการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และแนวทางการพัฒ
อ่าน : 4733 ครั้ง
วันที่ : 11/10/2010

Contact : V-SERVE GROUP 709/54-55 ถ.สุขุมวิท 77 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง  กทม. 10250 โทรศัพท์. 0 2332 3940-9 โทรสาร. 0 2332 0754
E-mail: tanit@v-servegroup.com