โดย ธนิต โสรัตน
รองเลขาธิการ สายงานเศรษฐกิจ
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
 4 กรกฎาคม 2550

ความสําคัญของเรื่องที่ศึกษา

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าในอนาคตพื้นที่ อุตสาหกรรม EasternSeaboard จะไมสามารถรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยคาดว่าในอีก 5 ปีข้างหน้าพื้นที่ Eastern Seaboard จะไม่สามารถขยายตัวในแนวตั้งได้อีก นอกจากนี้ ท่าเรือแหลมฉบังซึ่งเป็นท่าเรือหลักของประเทศไทย ในอีก 5 ปีข้างหน้ จะขยายเต็มพิกัดที่ประมาณ 10.5 – 11.0 ล้าน TEU ทางสภาอุตสาหกรรมฯ โดยคณะกรรมการพัฒนาการนําเข้ ส่งออก และการค้าประเทศเพื่อนบ้าน

ร่วมกับคณะอนุกรรมการโลจิสติกส์ได้มองเห็นปัญหาในระยะยาว จําเป็นที่ประเทศไทยจะต้องมองหาแนวพื้นที่ในการรองรับอุตสาหกรรมในอีก 10 ปีข้างหน้ โดยมองเห็นศักยภาพของภาคใต้ในหลายพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพที่จําเป็ Southern Seaboard อีกทั้งท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือชายฝั่งทางตะวันออกทําให้ประเทศไทยขาดศักยภาพการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ชายฝั่งทะเลฝั่งตะวันตกการขนส่งทางเรือระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นสัดส่วนของการขนส่งกว่าร้อยละ 95 ส่งผลต่อต้นทุนโลจิสติกส์ที่ประเทศไทยไม่สามารถ

แข่งขันกับประเทศมาเลเซีย นอกจากนี้ การส่งออกทางทะเลของไทยเพื่อไปซีกโลกตะวันตกจะต้องพึ่งพิงประเทศเพื่อนบ้านทั้งมาเลเซียและสิงคโปร์จําเป็นที่ประเทศไทย หากมีความประสงคที่จะลดต้นทุนโลจิสติกส์พร้อมเพิ่มศักยภาพการแข่ขันบนความมั่นคงของการเมืองระหว่งประเทศจํ าเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของการก่อสร้างที่เรือฝั่งตะวันตก เพื่อการรองรับการเติบโตของประเทศในปี2560 หรือในอีก 10 ปี ข้างหน้

" />
       
 

รายงานผลการศึกษาเบื้องต้น โครงการสํารวจพื้นที่การก่อสร้างท่าเรือชายฝั่งและ Southern Seaboard Share


                              

โดย ธนิต โสรัตน
รองเลขาธิการ สายงานเศรษฐกิจ
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
 4 กรกฎาคม 2550

ความสําคัญของเรื่องที่ศึกษา

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้เล็งเห็นว่าในอนาคตพื้นที่ อุตสาหกรรม EasternSeaboard จะไมสามารถรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยคาดว่าในอีก 5 ปีข้างหน้าพื้นที่ Eastern Seaboard จะไม่สามารถขยายตัวในแนวตั้งได้อีก นอกจากนี้ ท่าเรือแหลมฉบังซึ่งเป็นท่าเรือหลักของประเทศไทย ในอีก 5 ปีข้างหน้ จะขยายเต็มพิกัดที่ประมาณ 10.5 – 11.0 ล้าน TEU ทางสภาอุตสาหกรรมฯ โดยคณะกรรมการพัฒนาการนําเข้ ส่งออก และการค้าประเทศเพื่อนบ้าน

ร่วมกับคณะอนุกรรมการโลจิสติกส์ได้มองเห็นปัญหาในระยะยาว จําเป็นที่ประเทศไทยจะต้องมองหาแนวพื้นที่ในการรองรับอุตสาหกรรมในอีก 10 ปีข้างหน้ โดยมองเห็นศักยภาพของภาคใต้ในหลายพื้นที่ซึ่งมีศักยภาพที่จําเป็ Southern Seaboard อีกทั้งท่าเรือแหลมฉบังเป็นท่าเรือชายฝั่งทางตะวันออกทําให้ประเทศไทยขาดศักยภาพการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ชายฝั่งทะเลฝั่งตะวันตกการขนส่งทางเรือระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นสัดส่วนของการขนส่งกว่าร้อยละ 95 ส่งผลต่อต้นทุนโลจิสติกส์ที่ประเทศไทยไม่สามารถ

แข่งขันกับประเทศมาเลเซีย นอกจากนี้ การส่งออกทางทะเลของไทยเพื่อไปซีกโลกตะวันตกจะต้องพึ่งพิงประเทศเพื่อนบ้านทั้งมาเลเซียและสิงคโปร์จําเป็นที่ประเทศไทย หากมีความประสงคที่จะลดต้นทุนโลจิสติกส์พร้อมเพิ่มศักยภาพการแข่ขันบนความมั่นคงของการเมืองระหว่งประเทศจํ าเป็นที่จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของการก่อสร้างที่เรือฝั่งตะวันตก เพื่อการรองรับการเติบโตของประเทศในปี2560 หรือในอีก 10 ปี ข้างหน้


ไฟล์ประกอบ : ความสำคัญของเรื่องที่ศึกษา_ฉบับร่าง.pdf
อ่าน : 2268 ครั้ง
วันที่ : 07/07/2007

Contact : V-SERVE GROUP 709/54-55 ถ.สุขุมวิท 77 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง  กทม. 10250 โทรศัพท์. 0 2332 3940-9 โทรสาร. 0 2332 0754
E-mail: tanit@v-servegroup.com